ลิ้งค์เชื่อมต่อ

นักวิทยาศาสตร์ศึกษาเซลล์ประสาทของแมลงหวี่เพื่อเข้าใจกลไกของอาการ Jet Lag


A visitor takes a nap on a couch at the National Museum of Emerging Science and Innovation, in Tokyo.
A visitor takes a nap on a couch at the National Museum of Emerging Science and Innovation, in Tokyo.

ความรู้ที่ได้ช่วยให้นักวิจัยใช้วิธีแสงส่องแสงเพื่อบำบัดอาการ Jet Lag ได้

please wait

No media source currently available

0:00 0:03:13 0:00
Direct link

นักวิจัยของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียวิทยาเขต Irvine ศึกษาสมองของแมลงหวี่ที่ได้รับจีนส์ของหิ่งห้อยจากการตัดแต่งทางพันธุกรรมบนจานทดลองเพื่อให้เข้าใจกลไกของอาการ Jet Lag ซึ่งมักเกิดกับผู้ที่เดินทางระยะไกลข้ามหลายเส้นแบ่งช่วงเวลา

Fruit flies have a similar mechanism to humans that responds to light.
Fruit flies have a similar mechanism to humans that responds to light.

โดยนักวิจัยฉายแสงต่อเซลล์สมองของแมลงหวี่เป็นเวลาสองชั่วโมงเพื่อจำลองการได้รับอิทธิพลจากแสงที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบนาฬิกาชีวะ หรือ Biological Clock ในร่างกายมนุษย์ และได้พบว่าภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวการทำงานและการสื่อสารระหว่างเซลล์สมองต่างๆ จะเสียระบบไป

จากความรู้ที่ได้นี้นักวิจัยจึงสามารถใช้วิธีแสงส่องแสงเพื่อช่วยเตรียมนาฬิกาชีวะของคนเราล่วงหน้าก่อนการเดินทางเพื่อช่วยให้สามารถฟื้นตัวจากอาการ Jet Lag นี้ได้อย่างรวดเร็ว

XS
SM
MD
LG